การพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี คืออะไร

การพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี คืออะไร

การพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี คืออะไร ทำไมต้องพิมพ์ออฟเซ็ท ?

การพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี คืออะไร การพิมพ์ในรูปแบบออฟเซ็ทนั้นในทุกวันนี้ก็ถือเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีการพิมพ์ที่มีความทันสมัยเป็นอย่างมากเลยนะครับ เพราะว่าการพิมพ์ด้วยระบบนี้นั้นก็จะทำให้คุณภาพของชิ้นงานนั้นสามารถที่จะออกมาดีตรงกับความต้องการเป็นอย่างมาก การพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นก็ถือเป็นอีกหนึ่งรูปแบบที่จะทำให้ชิ้นงานที่ออกมานั้นสามารถที่จะถูกใจเป็นอย่างมากนั่นเอง โดยการพิมพ์ด้วยระบบนี้นั้นก็เป็นสิ่งที่ทำให้ชิ้นงานของเรานั้นสามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการได้เป็นอย่างดีมากอีกด้วย

เรียกได้ว่าการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นก็จะเป็นอีกหนึ่งรูปแบบที่ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ชื่นชอบกันเป็นอย่างมาก แถมเทคโนโลยีการพิมพ์ต่างๆ นั้นก็ยังจะเป็นสิ่งที่ทำให้ทุกอย่างนั้นออกมาลงตัวนั่นเอง  เอาเป็นว่าทุกวันนี้การพิมพ์แบบออฟเซ็ทนั้นหลายๆ คนก็ยังคงไม่ทราบนะครับว่าการพิมพ์ในรูปแบบ 4 สีนั้นมันคืออะไร แล้วมันจะเป็นแบบไหนซึ่งในวันนี้เราก็จะมาอธิบายกันให้ฟังกันว่า การพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สีนั้นมันคืออะไรนั่นเอง

แน่นอนนะครับคนที่อยู่ในแวดวงของการพิมพ์นั้นก็จะต้องรู้จักการพิมพ์ออฟเซ็ทกันอย่างแน่นอน แต่หลายๆ คนนั้นผมเชื่อนะครับก็ยังจะไม่มีใครรู้เท่าไรว่าการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นมันมีระบบการพิมพ์แบบสีอะไรบ้าง มันจะเป็นอย่างไร พิมพ์แล้วชิ้นงานที่เราต้องการนั้นมันจะออกมาแบบไหน ซึ่งรับรองเลยนะครับการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นแน่นอนนอกจากจะเป็นการพิมพ์ที่มีคุณภาพที่ดีแล้วนั้นชิ้นงานของเราที่ได้พิมพ์ออกมานั้นก็ยังสามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการได้เป็นอย่างดีอีกด้วยนั่นเอง เอาเป็นว่าการพิมพ์สีในระบบออฟเซ็ทนั้น ซึ่งในการพิมพ์นั้นแต่ละสีจะต้องใช้เพลตแม่พิมพ์หนึ่งอัน ดังนั้นในการพิมพ์ 4 สีของระบบออฟเซ็ท ก็จะต้องในรูปแบบ 4 สี CMYK ที่จะต้องใช้เพลตแม่พิมพ์ถึง 4 อันด้วยกัน

การพิมพ์ 4 สีนั้นก็สามารถที่จะทำได้อย่างสะดวกเป็นอย่างมากเลยนะครับ เพราะเราสามารถที่จะปรับตำแหน่งของแม่พิมพ์ต่างๆ ได้ให้ตรงกับตำแหน่งที่ตรงกันของแต่ละสีได้ง่ายเป็นอย่างมาก ซึ่งมันจะทำให้การพิมพ์ในระบบนี้นั้นก็จะตรงตามกับไฟล์อาร์ตเวิร์คที่ได้ออกแบบไว้นั่นเอง การพิมพ์ 4 สีนั้นผมเชื่อว่าหลายๆ คนก็ยังคงอาจจะไม่เข้าใจกันสักเท่าไร ซึ่งวันนี้เราจะมาดูกันจริงๆ แล้วในการพิมพ์ 4 สีนั้นมันคืออะไรกันแน่ โดยการพิมพ์ 4 สีนั้นก็จะประกอบไปด้วย สีฟ้าอมเขียว สีแดงอมม่วง สีเหลือง และสีดำ  การผสมทั้ง 4 สีนี้นั้นก็จะทำให้เกิดอีกหลากหลายสีมากมายเลย ซึ่งในระบบของสี CMYK ก็จะถูกนำมาใช้ในการพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ โดยไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์ในรูปแบบอะไรก็ตามแต่การพิมพ์ด้วยระบบนี้นั้นก็จะได้รับการยอมรับกันเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นระบบที่ตอบโจทย์กับความต้องการของงานพิมพ์ต่างๆ ได้ดีเยี่ยมอีกด้วย

ถ้าให้เทียบกับระบบการพิมพ์ในแบบ RGB นั้น ซึ่ง RGB มันเป็นระบบดิจิตอล หรือ สีที่ใช้ในเว็บต่างๆ ซึ่งระบบนี้นั้นเมื่อเรามีการพิมพ์ออกมาสีก็อาจจะมีความผิดเพี้ยนไปนั่นเอง ฉะนั้นถ้าหากเราต้องการที่จะสร้างไฟล์งานเพื่อที่จะพิมพ์ในระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ทนั้นไฟล์งานของเราก็ควรที่จะต้องให้อยู่ในรูปแบบของโหมดสีแบบ CMYK ก่อนที่จะนำไปส่งให้กับโรงพิมพ์ ซึ่งเราจะต้องตั้งค่าทุกครั้ง เพราะมันจะทำให้ชิ้นงานที่ออกมาจากเครื่องพิมพ์นั้นสามารถที่จะมีความใกล้เคียงกับงานพิมพ์ตามต้นแบบของเรามากที่สุดนั่นเอง ซึ่งไม่ว่าจะออกแบบด้วยโปรแกรมไหนก็ตามทุกโปรแกรมนั้นก็มีระบบ CMYK ทุกอันอีกด้วย ดังนั้นชิ้นงานของเราจะออกมาตรงกับความต้องการหรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับชิ้นงานที่เราได้ทำส่งทางโรงพิมพ์ไปนะครับ ซึ่งความชัดหรือความละเอียดนั้นก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโรงพิมพ์เป็นหลักเพราะบางทีก็อาจจะขึ้นอยู่กับไฟล์งานของเราด้วย ดังนั้นอย่าลืมนะครับชิ้นงานที่จะส่งให้กับโรงพิมพ์ทุกครั้งก็จะต้องตั้งค่าหมวดสีทุกครั้งด้วยเพื่อที่ชิ้นงานของเรานั้นจะได้ออกมาตรงกับความต้องการของเรานั่นเอง ดังนั้นระบบการพิมพ์ 4 สี มันก็เป็นระบบที่ทุกคนนิยมกันเป็นอย่างมาก แถมทุกวันนี้การพิมพ์ด้วยระบบ 4 สี ก็ถือเป็นที่นิยมกันเป็นอย่างสูง ซึ่งอย่างที่บอกไปแหละครับว่าสีที่ออกมานั้นมันก็จะตรงกับต้นฉบับนั่นเอง

เอาเป็นว่าการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นผมเชื่อนะครับว่าหลายๆ คนก็ยังคงกังวลกับเรื่องราคาของชิ้นงานที่ออกมา แต่ถ้าชิ้นงานออกมาจากระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ทนั้นรับประกันได้เลยว่างานของเราก็จะออกมาตรงกับความต้องการของเราเป็นอย่างมาก ซึ่งระบบนี้เป็นระบบที่ดีมากสำหรับงานพิมพ์ แถมไม่ว่าจะเป็นกระดาษชนิดไหนก็ตามแต่ ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ทนั้นก็ตอบโจทย์ได้ทุกความต้องการอีกด้วย แถมยังพิมพ์ได้ในปริมาณที่เยอะและไว้กว่าการพิมพ์แบบปกติตามทั่วไป ดังนั้นระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สีก็ได้กลายเป็นสิ่งที่หลายคนนั้นชื่นชอบกันเป็นอย่างมากนั่นเอง

อ่านบทความเพิ่มเติม>> 7 เทคนิคขบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ต่าง